[vc_row full_width=”stretch_row_content”][vc_column][vc_column_text css=”.vc_custom_1554314873226{margin-top: 15px !important;}”][/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1566298420579{margin-top: 15px !important;}”]
รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ (CD proceedings)
11th NATIONAL ACADEMIC CONFERENCE OF 2019
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยสยาม ประจำปี 2562
เรื่อง Professional management in a disruptive world
วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม 2562
ณ ห้องสัมมนา ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร 12) มหาวิทยาลัยสยาม
คลิกดาวน์โหลดฉบับเต็ม / Link สำรอง (size 16.1 MB )
- ส่วนที่ 1 หน้าปก
- ส่วนที่ 2 ปกใน
- ส่วนที่ 3 คำนำ และกำหนดการ
- ส่วนที่ 4 สารบัญ
- ส่วนที่ 5 บทความ
[/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1587050988244{margin-right: 60px !important;margin-left: 60px !important;}”]
บทความ/Article
Error requesting data: cURL error 28: Operation timed out after 5001 milliseconds with 0 out of -1 bytes received[/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1557986272927{margin-top: 20px !important;}”]
โพสกิจกรรม: 11th NATIONAL ACADEMIC CONFERENCE OF 2019
ภาพกิจกรรมภายในงาน: https://drive.google.com/drive/folders/1Id0VyX8ZvzfQT6XaXGEbFiIQR4BH_ZnY
[/vc_column_text][/vc_column][/vc_row][vc_row full_width=”stretch_row_content” css=”.vc_custom_1577029578014{margin-top: 0px !important;}”][vc_column][bezel_accordion open_first=”no” color=”dark-blue-skin”][vc_tta_section i_position=”” title=”Presentation time table” tab_id=”1554337536099-bb81f9d4-a804″][vc_column_text]
THE 11th NATIONAL ACADEMIC CONFERENCE OF 2019
“Professional Management in a Disruptive World”
Venue: 19th Building 3rd, 4th, and 6th Floor
Presentation time table
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”Program” tab_id=”1554337536169-7357f666-45b9″][vc_column_text]
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”Posters” tab_id=”1554337712216-b60398fc-1770″][vc_column_text css_animation=”zoomIn” animation_delay=”1000″]
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”Advertising boards” tab_id=”1554338325818-8f238ccc-100e”][vc_column_text][/vc_column_text][/vc_tta_section][/bezel_accordion][vc_column_text][/vc_column_text][/vc_column][/vc_row][vc_row full_width=”stretch_row_content”][vc_column][bezel_accordion behavior=”multiple” open_first=”no” color=”dark-skin”][vc_tta_section i_position=”” title=”การเปิดรับผลงาน” tab_id=”1554341665835-9f795167-faf4″][vc_row_inner][vc_column_inner][bezel_page_title title=”การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2562″ subtitle=”“Professional management in a disruptive world”” title_shadow=”yes” text_align=”text-center” text_align_sm=”center” text_align_xs=”center” subtitle_color=”#4687bf”][bezel_page_title title=”เปิดรับผลงาน 15 กุมภาพันธ์ – 15 มีนาคม 2562″ subtitle=”ผู้สนใจเข้านำเสนอบทความในประชุมวิชาการสามารถสมัครเข้าร่วมโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้” tag=”h3″ title_shadow=”yes” text_align=”text-center” text_align_sm=”center” text_align_xs=”center” font_size=”font-big” title_color=”#dd3333″][vc_column_text]
- เป็นผลงานที่ยังไม่เคยเผยแพร่ที่ใดๆมาก่อน
- เป็นผลงานวิจัยของคณาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัย โดยที่ไม่ได้มีการคัดลอกมาจากบุคคลอื่น
- เป็นผลงานวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือ การค้นคว้าอิสระ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ที่เกี่ยวข้องตาม ประเด็นหัวข้อต่างๆ ดังนี้
- การจัดการทั่วไป เช่น การจัดการเทคโนโลยี การจัดการสารสนเทศ การจัดการโครงการ การจัดการอุตสาหการ การจัดการการศึกษา การจัดการทั่วไป ฯลฯ
- การจัดการทางธุรกิจและบริหาร เช่น การบัญชี การเงิน การตลาด ธุรกิจระหว่างประเทศ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ บริหารการศึกษา บริหารทั่วไป บริหารธุรกิจ ฯลฯ(Fanaticrun, 2562)
- หัวข้อด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เศรษฐศาสตร์ การบริหารเศรษฐกิจ การจัดการองค์ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการการโรงแรม ฯลฯ
[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”การคัดเลือกผลงานเข้าร่วมประชุมวิชาการและตีพิมพ์ในเอกสารสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings)” tab_id=”1493635346075-2602693d-ed19″][vc_column_text]เพื่อให้ผลงานที่ร่วมนำเสนอเป็นผลงานที่มีมาตรฐาน คณะผู้จัดงานกำหนดให้มีคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอก ในสาขาต่างๆ พิจารณาบทความ ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ในวงการวิชาการ หรือ เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ ซึ่งผลงานที่ผ่านการพิจารณาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแล้วและปรับปรุงโดยสมบูรณ์จะได้รับการเผยแพร่ในเอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Full Paper Proceedings)[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”กำหนดระยะเวลาการส่งผลงานและสมัครประชุมวิชาการ” tab_id=”1549782396751-6597b5f9-e4a8″][vc_column_text]
รายละเอียด | ระยะเวลา |
ระยะเวลารับส่งบทความ พร้อมชำระค่าลงทะเบียน* | 15 กุมภาพันธ์ – 15 มีนาคม 2562 |
ระยะเวลากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอ่าน และพิจารณาบทความ | 20 กุมภาพันธ์ – 20 มีนาคม 2562 |
ส่งบทความฉบับสมบูรณ์ผ่านทางเวปไซด์ (ฉบับแก้ไข) * | 20 กุมภาพันธ์ – 20 มีนาคม 2562 |
แจ้งผลการพิจารณาบทความผ่านทางเวปไซด์ | 1 มีนาคม – 20 มีนาคม 2562 |
ประกาศกลุ่มและลำดับการนำเสนอบทความ* | 25 มีนาคม 2562 |
วันประชุมวิชาการและนำเสนอผลงาน | 30 มีนาคม 2562 |
หมายเหตุ
- ผลงานฉบับสมบูรณ์ที่นำเสนอจะเผยแพร่ในรูปแบบ Full Paper Proceedings
- ผู้นำเสนอที่ไม่ชำระค่าลงทะเบียนภายในเวลาที่กำหนด จะถือว่าสละสิทธิ์การนำเสนอผลงาน
3. คณะกรรมการจัดงานขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาตอบรับและตีพิมพ์บทความตามความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิโดยไม่คืนค่าลงทะเบียน[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”ผู้สนใจเสนอผลงาน สามารถลงทะเบียนและส่งผลงานออนไลน์ ได้ที่” tab_id=”1549782548539-2aae89cc-00c6″][vc_column_text]
ชำระค่าลงทะเบียน
- 1 – 15 มีนาคม พ.ศ. 2562
- ค่าลงทะเบียน 2,500 บาท (สองพันห้าร้อยบาทถ้วน)
- กรุณาแนบหลักฐานการชำระเงินพร้อมกับบทความทางเว็บไซต์ http://itschool.siam.edu:8080
- ชำระค่าลงทะเบียนโดย เงินสด สั่งจ่ายในนาม ชื่อบัญชี มหาวิทยาลัยสยาม
- หมายเลขบัญชี: 005-812028-8
- ธนาคารกรุงเทพ สาขามหาวิทยาลัยสยาม ประเภท ออมทรัพย์
Payment
- Payment period 15 Feb – 15 Mar 2019
- Registration Fee 2,500 Thai Baht
- Please attach payment slip with manuscript at http://itschool.siam.edu:8080
- Account Name: Siam University
- Account Number: 005-812028-8
- Type Account: Saving Bank Account
- BBL Bank – Branch Siam University
อัตราค่าลงทะเบียนนี้ รวมค่าอาหารว่าง กระเป๋าเอกสาร เอกสารสำหรับการประชุม ใบประกาศนียบัตร ของที่ระลึก ซีดีรวมบทความที่ได้รับการคัดเลือกให้เผยแพร่ในรูปแบบประชุมวิชาการ (Full Paper Proceedings)[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”ข้อกำหนดของบทความต้นฉบับ (Manuscript Requirements)” tab_id=”1549782601729-1401ec46-d855″][vc_column_text]ผู้ที่ประสงค์ส่งบทความสามารถส่งบทความที่เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ โดยผู้เขียนบทความทุกคนต้องให้ ข้อมูลเกี่ยวกับชื่อและนามสกุลของผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด รวมทั้งข้อมูลที่ติดต่อได้ให้ชัดเจน บทคัดย่อควรมีความยาวไม่ เกิน 300 คำ (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) มีคำสำคัญ (Keyword) ไม่เกิน 5คำ โดยทั้งบทความภาษาไทย และบทความ ภาษาอังกฤษต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยเช่นเดียวกัน ผู้ส่งบทความควรตรวจสอบความถูกต้องของ การพิมพ์ต้นฉบับ เช่น ตัวสะกด วรรคตอน และความเหมาะสม ความสละสลวยของการใช้ภาษา ผู้ส่งบทความจะต้องเขียน อ้างอิงเอกสารอื่นโดยจัดให้อยู่ในรูปแบบ APA Style (สามารถดูรายละเอียดได้ที่ http://en.wikipedia.org/wiki/APA_ style#Reference_list) และจะต้องตรวจสอบความถุกต้องและความสมบูรณ์ของการอ้างอิง ในกรณีที่ผู้ส่งบทความต้องการ อ้างอิงเอกสารภาษาไทย ควรใช้ชื่อตามด้วยปีที่ตีพิมพ์ในวารสาร เช่น (อำพล, 2557) และ (เฉลิมพร และคณะ, 2557) ในกรณีที่ผู้แต่งมากกว่า 3 คนขึ้นไป เป็นต้น รวมทั้งควรกำหนดประเภทของบทความให้ชัดเจนว่าเป็นบทความวิชาการหรือ บทความวิจัย[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”องค์ประกอบของบทความบทความวิจัย และบทความวิชาการ” tab_id=”1549783527209-3cae49fa-e94b”][vc_column_text]
- ชื่อเรื่อง (Title) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
- ชื่อผู้เขียน (Author (s)) ใช้ชื่อและนามสกุลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษพร้อมระบุหน่วยงานที่สังกัด รวมทั้ง E-mail ของผู้เขียนที่สามารถติดต่อได้
- บทคัดย่อ (Abstract) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีความยาวไม่เกิน 300 คำ
- คำสำคัญ (Keyword) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จำนวนไม่เกิน 5 คำและระบุไว้ท้ายบทคัดย่อ
- เนื้อหา(Contents)
- บทความวิจัยควรให้มีการนำเสนอการวิจัยและผลที่ได้รับอย่างเป็นระบบโดยควรมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ (สามารถมีหัวข้อหรือองค์ประกอบที่แตกต่างได้)
- บทนำ(Introduction)
- วัตถุประสงค์ของการวิจัย
- สมมติฐานของการวิจัย (ถ้ามี)
- แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- วิธีดำเนินการวิจัย (Research Methodology) ที่สามารถอธิบายวิธีการดำเนินการวิจัยรวมถึงการเก็บ ข้อมูล หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยอย่างชัดเจน
- สรุปผลการวิจัย (Results)
- อภิปรายผล (Conclusion and Discussion)
- ข้อเสนอแนะ
- เอกสารอ้างอิง (References)
- บทความวิชาการ หัวข้อและเนื้อหาควรชี้ประเด็นที่ต้องการนำเสนออย่างชัดเจน และมีลำดับเนื้อหาที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ชัดเจน และเสนอแนะมีประเด็นอย่างสมบูรณ์ โดยควรประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้ (สามารถมีหัวข้อหรือองค์ประกอบที่แตกต่างได้)
- บทนำ (Introduction)
- แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- สาระในประเด็นต่างๆ (Contents)
- สรุปและอภิปรายผล (Conclusion and Discussion)
- ข้อเสนอแนะ
- เอกสารอ้างอิง(References)
- บทความวิจัยควรให้มีการนำเสนอการวิจัยและผลที่ได้รับอย่างเป็นระบบโดยควรมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ (สามารถมีหัวข้อหรือองค์ประกอบที่แตกต่างได้)
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”การเตรียมต้นฉบับ(บทความวิจัย/บทความวิชาการ)” tab_id=”1549783627913-cfe96e8c-d3cc”][vc_column_text]
1. การจัดเค้าโครงหน้ากระดาษ A4 จำนวน 8 ถึง 10 หน้า
2. กรอบของข้อความในกระดาษ A4 กำหนดขอบเขตดังนี้ จากขอบบนของกระดาษ 1.25 นิ้ว ขอบล่าง 1.0 นิ้ว ขอบซ้าย 1.25 นิ้ว ขอบขวา 1.0 นิ้ว 3. ระยะห่างระหว่างบรรทัด หนึ่งช่วงบรรทัดของเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. ตัวอักษร ใช้ ไทยสารบัญ นิว (TH Sarabun New) เหมือนกันตลอดทั้งบทความ และพิมพ์ตามที่กำหนด 5. ชื่อเรื่อง (Title)
6. ชื่อผู้เขียน (ทุกคน)
7. บทคัดย่อ
*** บทความภาษาไทยต้องมีทั้งบทคัดย่อภาษาไทย และบทคัดย่อภาษาอังกฤษ *** 8. คำสำคัญ (Keyword)
9. รายละเอียดบทความ
10. ภาพประกอบและตาราง
11. การพิมพ์อ้างอิงแทรกในเนื้อหาของบทความ
12. การพิมพ์เอกสารอ้างอิงท้ายบทความ (อ้างอิงจากการประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2555)
Paper Template and Format* |
||
|
||
Download Paper Guidelines |
||
Template
|
[/vc_column_text][/vc_tta_section][/bezel_accordion][/vc_column][/vc_row][vc_row full_width=”stretch_row_content_no_spaces” rtl_reverse=”yes” parallax=”content-moving” parallax_image=”276″ overlay_style=”gradient-overlay” overlay_color=”#4766ef” overlay_color_2=”#c60063″][vc_column][bezel_button type=”” link=”url:http%3A%2F%2Fitschool.siam.edu%3A8080%2Fformat.aspx|title:%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%20%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81|target:%20_blank|rel:nofollow” text=”ส่งบทความ” alignment=”text-center” shape=”no-radius” size=”btn-lg” text_transform=”upper” shadow=”btn-shadow” show_icon=”yes” icon_position=”before” icon=”hc-magic-mouse”][/vc_column][/vc_row][vc_row full_width=”stretch_row_content”][vc_column][bezel_accordion open_first=”no” color=”dark-blue-skin”][vc_tta_section i_position=”” title=”หลักการและเหตุผล” tab_id=”1549787815129-348c7c53-ba1e”][vc_column_text]ด้วยกระแสการเปลี่ยนแปลงในภาวะเศรษฐกิจ สังคมปัจจุบัน เป็นผลให้เกิดการพัฒนา เปลี่ยนแปลงของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการจัดการ การลงทุน เศรษฐกิจ สังคม การปกครอง วัฒนธรรม ความรู้ การเปิดเสรีในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ด้วยเหตุนี้ การจะพัฒนาการบริหารงานและเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อตอบรับสถานการณ์ปัจจุบันนั้น การจัดการองค์ความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ด้านการบริหารธุรกิจเป็นสิ่งจำเป็น โดยเฉพาะองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยและงานวิชาการ สามารถเป็นแรงขับเคลื่อน และนำมาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ ต่อทั้งองค์กร บุคคล และสังคม
ดังนั้นการจัดงานประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาเป็นกลไกหนึ่งในการที่จะผลักดันคุณภาพงานวิจัยเพื่อตอบสนองประโยชน์ข้างต้นนั้น อีกทั้งยังสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ ด้วยหลักการและเหตุผลดังกล่าวทางคณะอนุกรรมการสาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะกรรมการฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จึงได้จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2562 ครั้งที่ 1 หัวข้อ “Professional management in a disruptive world” เพื่อสร้างเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านวิชาการความคิดเห็น ประสบการณ์ ความชำนาญ และการบริหาร[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”วัตถุประสงค์” tab_id=”1549787815225-fce155c0-5c0d”][vc_column_text]
- เพื่อสร้างเวทีในการนำเสนอผลงานวิจัย ถ่ายทอดและนำผลงานเผยแพร่สู่สาธารณชน
- เพื่อพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน และ ศักยภาพงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา
- เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา และสังคมส่วนรวม
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”ผู้ได้รับประโยชน์จากโครงการ” tab_id=”1549787815334-fd40db29-5c5b”][vc_column_text]
กลุ่มเป้าหมายจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการประมาณ 100 คน
- นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ
- คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”ผลที่คาดว่าจะได้รับ” tab_id=”1549787815438-e2ca6ec0-d9fb”][vc_column_text]
- ผลงานวิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระระดับบัณฑิตศึกษาของนิสิต นักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน จะได้รับการสนับสนุนให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบที่เป็นเอกสารทางวิชาการ เป็นที่ยอมรับ
- นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณาจารย์ และผู้ที่เข้าร่วมประชุมเสนอผลงาน ได้แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน ได้รับประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานต่อที่ประชุมสัมมนาและผู้เสนอผลงานได้รับการพัฒนาทักษะการนำเสนอและพัฒนาคุณภาพงานด้านวิชาการและวิจัย
- ได้องค์ความรู้ที่เกิดจากงานวิจัยเพื่อนำไปต่อยอดพัฒนา องค์กร บุคคล และสังคมส่วนรวม
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”คณะกรรมการจัดงาน” tab_id=”1549787815552-5503084d-fb0f”][vc_column_text]
- คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยสยาม และ คณะอนุกรรมการสาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะกรรมการฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”คณะกรรมการดำเนินงาน” tab_id=”1549787815667-849efbe8-8a36″][vc_column_text]
- รศ.ดร.จอมพงศ์ มงคลวณิช ที่ปรึกษา
- ผศ.ดร.ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล ประธาน
- ดร.พิเชษฐ์ มุสิกะโปดก รองประธาน
- ผศ.ดร.อำพล นววงศ์เสถียร รองประธาน
- อาจารย์ประทานพร โสภาจิติ์วัฒนะ รองประธาน
- ผศ.ดร.โอม หุวะนันทร์ กรรมการ
- ผศ.ดร.พัฒน์ พิสิษฐเกษม กรรมการ
- ผศ.ดร.บุษยา วงษ์ชวลิตกุล กรรมการ
- ดร.สุริย์วิภา ไชยพันธุ์ กรรมการ
- ดร.ณกมล จันทร์สม กรรมการ
- ดร. ธนกร ลิ้มศรัณย์ กรรมการ
- ดร. กานต์จิรา ลิมศิริธง กรรมการ
- ดร. พิจิตร เอี่ยมโสภณา กรรมการ
- ดร. ธีติมา ปิยะศิริศิลป์ กรรมการ
- อาจารย์นีรนุช เนื่องวัง กรรมการ
- นางสาวธิรินทร์ญดา ธนาภาฐิติวัฒน์ ผู้ประสานงานโครงการ
- นางสาวจิรภัทร์ สวัสดีวงค์ ผู้ประสานงานโครงการ
- นางสาวณัฐกุล อินทรชิต ผู้ประสานงานโครงการ
- นางสาวพรรณราย เที่ยงสมพงษ์ ผู้ประสานงานโครงการ
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section i_position=”” title=”Google Map – 19 Building, Siam Unviersity, Bangkok, Thailand” tab_id=”1549790008851-c786f9e0-9c9b”][vc_column_text][/vc_column_text][/vc_tta_section][/bezel_accordion][/vc_column][/vc_row][vc_row full_width=”stretch_row_content” row_bg_style=”dark-bg” css=”.vc_custom_1577029628093{padding-top: 50px !important;padding-bottom: 50px !important;}”][vc_column width=”1/4″][/vc_column][vc_column width=”1/4″][bezel_icon_box box_style=”counter” icon_type=”animated” number=”224″ title=”จำนวนผลงาน” icon_color=”#00c3da” alignment=”align-center” css_animation=”zoomIn” animation_delay=”300″ animated_icon=”hca-book-pen”][/bezel_icon_box][/vc_column][vc_column width=”1/4″][bezel_icon_box box_style=”counter” icon_type=”animated” number=”195″ title=”ผ่านการพิจารณา” icon_color=”#00c3da” alignment=”align-center” css_animation=”zoomIn” animation_delay=”600″ animated_icon=”hca-eye”][/bezel_icon_box][/vc_column][vc_column width=”1/4″][/vc_column][/vc_row]